การสลายสารอาหารแบบใช้ออกซิเจน (Aerobic respiration)

การสลายสารอาหารแบบใช้ออกซิเจน แบ่งออกเป็น 4 ชั้นตอนย่อยๆ คือ krebsrevที่มา :https://minsirima.wordpress.com/wp-content/uploads/2014/06/krebsrev.gif 1. Glycolysis 2. Formation Acetyl Co A 3. Kresb cycle 4. Electron Transpory Chian : ETC 1. glycolysis Steps-of-glycolysis-1021119ที่มา : https://minsirima.wordpress.com/wp-content/uploads/2014/06/steps-of-glycolysis-1021119.png จะเกิดขึ้นที่บริเวณ cytosol ของเซลล์สารตั้งต้นคือ clucose 1 โมเลกุล ผลิตภัณฑ์สุดท้ายที่ได้คือ pyruvic acid 2 โมเลกุลซึ่งในการเปลี่ยน clucose ไปเป็น pyruvic acid จะมีการใช้ ATP 2 โมเลกุล และได้ ATP 4 โมเลกุล สรุปจึงได้ ATP สุทธิแค่ 2 โมเลกุล และ NADH 2 โมเลกุล 2. Formation Acetyl Co A 09_10PyruvateToAcetylCoA_Lที่มา : https://minsirima.wordpress.com/wp-content/uploads/2014/06/09_10pyruvatetoacetylcoa_l.jpg เกิดที่ matrix ของ mitochondria สารตั้งต้นคือ pyruvic acid 2 โมเลกุล ผลิตภัณฑ์สุดท้ายที่ได้คือ Acetyl Co A 2 โมเลกุล ซึ่งจะได้ผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้นคือ NADH 2 โมเลกุล และ CO2 2 โมเลกุล 3. Krebs cycle citirc acid cycle ที่มา : https://minsirima.wordpress.com/wp-content/uploads/2014/06/citirc-acid-cycle.jpg วัฏจักรเครบส์เริ่มด้วย Acetyl Co A ซึ่งมี C 2 อะตอมรวมกับ Oxaloacetate ซึ่งมี C 4 อะตอม เกิดเป็นสารที่มี C 6 อะตอม คือ กรดซิตริก (citric acid) จากนั้นกรดซิตริกนี้จะ decarboxylation เกิดเป็นสาร C 5 อะตอม และเกิดการ decarboxylation อีกครั้งกลายเป็นสาร C 4 อะตอม แล้วเปลี่ยนแปลงต่อไปอีกหลายขั้นโดยใช้เอนไซม์หลายชนิดและในที่สุดก็จะได้ Oxaloacetate ตามเดิม สรุปผลิตภัณฑ์ที่ได้จาก Krebs cycle NADH 6 โมเลกุล FANH2 2 โมเลกุล ATP 2 โมเลกุล CO2 4 โมเลกุล 4. Electron Transpory Chian : ETC etcที่มา : https://minsirima.wordpress.com/wp-content/uploads/2014/06/etc.jpg เกิดขึ้นที่เยื่อหุ้มชั้นในของ mitichondria ซึ่งตัวรับอิเล็กตรอน (NADH,FADH2) จะมีการส่งต่อ อิเล็กตรอนผ่่านตัวรับอิเล็กตรอนซึ่งในการส่งผ่านอิเล็กตรอนจะมีการปั๊ม H+ มาไว้ที่ Inner membranespace เมื่อส่งอิเล็กตรอนผ่านไปจนสุดท้ายจะมี O2 มาเป็นตัวรับอิเล็กตรอนตัวสุดท้ายกลายเป็น H2O และจากการที่มีการปั๊ม H+ มาไว้ที่ Inner membranespace ทำให้เกิดความต่างศักย์สะสมอยู่ H+ ที่สะสมอยู่ในInner membranespace จะไหลเข้ามาอยู่ใน matrix ตามเดิมโดยผ่านบริเวณเอมไซม์ ATP Sythase พร้อมปล่อยพลังงานออกมาเพื่อรวมกับ ADP + Pi กลายเป็น ATP

Posted on มิถุนายน 26, 2014, in การสลายสารอาหารแบบใช้ออกซิเจน. Bookmark the permalink. ใส่ความเห็น.

ใส่ความเห็น